5 ESSENTIAL ELEMENTS FOR ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

5 Essential Elements For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

5 Essential Elements For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ไม่ใช่แค่ฝั่งของเจ้าหน้าที่เท่านั้น แม้กระทั่งผู้ปกครองก็ไม่ได้ตระหนักถึงการศึกษาที่ด้อยคุณภาพเช่นกัน พวกเขาจึงไม่ได้สนใจจะเรียกร้องให้โรงเรียนมีคุณภาพดีกว่าเดิม หรือกว่าที่พวกเขาจะตระหนักได้ ก็เป็นช่วงที่เด็กเรียนจบและเข้าสู่ตลาดแรงงานแล้ว จนทำให้หลายๆ คนเจอกับสภาวะที่เรียนจบมาแล้ว แต่กลับไม่มีทักษะเพียงพอในการทำงาน

งบประมาณ ทุกวันนี้การจัดสรรงบประมาณแก่โรงเรียนเป็นการให้ตามรายหัว ถ้ามีนักเรียนเยอะก็ได้เงินเยอะ ถ้ามีนักเรียนน้อยก็ได้น้อย ทั้งที่โรงเรียนขนาดเล็กมีปัญหาหนักกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่เสียด้วยซ้ำ เช่น มีนักเรียนยากจนมากกว่า โอกาสในการระดมทรัพยากรก็ยากกว่า ยิ่งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล การซ่อม สร้าง ปรับปรุงโรงเรียนยิ่งยากลำบากและมีต้นทุนสูง ทั้งค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายของแรงงาน หากรัฐยังคงวางแผนงบประมาณเช่นเดิม หรือเลือกให้อย่างเท่าเทียมกันทั้งประเทศ จะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณจึงควรมอบให้โรงเรียนที่มีเด็กยากจน และประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรเสียก่อน

เมื่อเวลาเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ก็เปลี่ยนไป บริบทของคนในพื้นที่ที่เคยเป็นแนวร่วมคอมมิวนิสต์ได้เปลี่ยนเป็นนักพัฒนาเปลี่ยนพื้นที่ให้มีความมั่นคงเข้มแข็ง และบทบาทหน้าที่ของ ตชด. ก็ปรับเปลี่ยนไปตามกาลเวลาเช่นกัน แต่มือก็ยังถือชอล์กเขียนกระดานดำ และยกระดับเป็นครูตชด.นักพัฒนาที่สร้างความเข้มแข็งในพื้นที่อย่างยั่งยืน ด้วยความรู้ ทักษะวิชาชีพเพื่อการพัฒนาประชาชนในพื้นที่อย่างรอบด้าน  แต่มีปัญหาที่รอการแก้ไขหนึ่งเรื่องสำคัญคือ ความรู้การสอนของครู ตชด.

จ.ส.ต.หญิง สุธัญญา แตงทอง นักศึกษา ‘โครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร’ จากโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนตะโกปิดทอง จ.

ปัญหาภาษาไทยที่ไม่ได้ถูกใช้อย่างต่อเนื่อง

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

ด้วยนักเรียนที่โรงเรียนเป็นเด็กชาติพันธุ์การใช้ภาษาไทยส่วนใหญ่จะอยู่ที่โรงเรียนเป็นหลัก พอกลับบ้านเด็ก ๆ จะแทบไม่ได้ใช้ภาษาไทย และยิ่งช่วงโควิดประกาศปิดการเรียนการสอน ทำให้ไม่สามารถมาเรียนได้และด้วยข้อจำกัดในการสื่อสารการเรียนการสอนออนไลน์ตัดขาดไปโดยปริยาย แต่ยังมีความโชคดีที่มีสื่อการเรียนการสอนพระราชทานในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ฯ  เป็นสื่อการเรียนการสอน-แบบฝึกหัดแบบออฟ-ไลน์ พกติดไปเวลาเยี่ยมบ้านพร้อมแบบฝึกหัดภาษาไทยเพื่อให้เด็กใช้ทบทวนและเรียนรู้ และในทุก ๆ สัปดาห์ครูอุ้ยจะเข้าไปเก็บกลับเพื่อตรวจการบ้านและนำชุดการเรียนรู้และแบบฝึกหัดชุดใหม่ไปให้เด็ก ๆ ทบทวน เพื่อเตรียมความพร้อมหากพ้นช่วงสถานการณ์โควิดแล้ว ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เด็ก ๆ จะไม่ลืมภาษาไทยที่เป็นภาษาหลักที่ใช้สื่อสารในโรงเรียน 

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทยในระดับนานาชาติ:

ยอมรับทั้งหมด จัดการความเป็นส่วนตัว

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

การศึกษาเพื่อสนับสนุนการดำเนินมาตรการด้านความปลอดภัยทางถนนในระดับท้องถิ่นให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของแผนแม่บทด้านความปล

Report this page